“ตามรอยพ่อด้วยความพอเพียง” “เมื่อตั้งใจที่จะเรียนรู้ เราก็จะพบทางออก”แสวง ศรีธรรมบุตร ผู้มั่งคั่ง (ความสุข) เกษตรกร จ.อุดรธานี ความยาว 1:30 นาที ดูรายละเอียด
“ตามรอยพ่อด้วยความรู้” “เหนื่อยกับงานที่ใช่ยังไงชีวิตก็มีความสุข”สำเริง ศรีโกตะเพชร เกษตรกร จ.สุรินทร์ ความยาว 1:30 นาที ดูรายละเอียด
อุดร เพ็ชรณรงค์ การออกแบบพื้นที่ให้เหมาะกับภูมิสังคมตามศาสตร์พระราชาทำให้พื้นที่เคยแห้งแล้งของพี่อุดรสามารถเก็บกักน้ำทำการเกษตรได้ มีผลผลิตหมุนเวียนขายได้ตลอดทั้งปี ความยาว 2:07 นาที ดูรายละเอียด
อินตา วังคีรี และสมชาย กันยาประสิทธิ์ บ้านหินโง่น จ.เพชรบูรณ์ แบ่งที่ดินทำต้นแบบ “เปลี่ยนเขาหัวโล้น เป็นเขาหัวจุก” จากไร่ข้าวโพดบนเขาหัวโล้น ที่ปลูกแต่พืชเชิงเดียวเป็นแปลงกสิกรรมผสมผสาน ความยาว 2:16 นาที ดูรายละเอียด
สมจิตร์ ชนะชัย การปรับพื้นว่างเปล่าในโรงเรียนบ้านโป่งเกตุ อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี ให้กลายเป็นซูเปอร์มาเก็ตกลางแจ้งที่มีผลผลิตให้เลือกเก็บมากมาย ความยาว 2:00 นาที ดูรายละเอียด
วนิดา ดำรงค์ไชย บริจาคที่ดิน ที่ ต.ม่วงงาม จ.สระบุรี เพื่อสร้างต้นแบบหลุมขนมครกแห่งแรกของโครงการฯ ความยาว 2:13 นาที ดูรายละเอียด
โรงเรียนบ้านท่าไม้ทอง โรงเรียน อยู่ในพื้นที่แห้งแล้งกักเก็บน้ำไม่ได้ โครงการฯ เข้ามาช่วยแก้ปัญหาต่างๆ ให้เป็นพื้นที่อุดมสมบูรณ์ขึ้น ความยาว 2:17 นาที ดูรายละเอียด
พลเอก ธนศักดิ์ เก่งถนอมม้า นสศ. ร่วมกับภาคีเครือข่าย ปรับพื้นที่กว่า 600 ไร่ เป็นแก้มลิงและใช้เป็นศูนย์การเรียนรู้ที่รวบรวมศาสตร์พระราชาและภูมิปัญญาท้องถิ่น ในทุกสภาพภูมิสังคม ความยาว 1:59 นาที ดูรายละเอียด
บุญเลี้ยง รื่นมาลัย ป้าเปี๊ยก เกษตรกรที่มีชีวิต ติดลบ จากการทำนา ได้เข้าร่วมโครงการพลังคนสร้างสรรค์โลก รวมพลังตามรอยพ่อของแผ่นดิน และปรับเปลี่ยนพื้นที่ให้กลายเป็นโคก หนอง นา พออยู่ พอกินสามารถปลดหนี้ได้ ความยาว 2:03 นาที ดูรายละเอียด